
เราคงรู้กันดีอยู่แล้วว่าโทรศัพท์มือถือที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android สามารถเข้าไปดาวน์โหลดแอปพลิเคชันได้จาก Play Store บางครั้งเราก็กดดาวน์โหลดกันเพลินจนลืมอาจเผลอไปใช้งาน แอปพลิเคชันที่ไม่ควรมีในโทรศัพท์ ที่อาจกำลังแอบเก็บข้อมูลส่วนตัวของเราไปให้บุคคลที่สามอยู่ก็เป็นได้ โดยอัตราการโดนแอบเก็บข้อมูลของแอปพลิเคชันฟรีจะมีสูงกว่าแบบเสียเงินถึง 10 เท่า ด้วยกัน และถึงแม้ว่า Google จะมีให้เรากดยินยอมการให้ข้อมูลก่อนทุกครั้ง แต่บรรดา แอปพลิเคชันแอบเก็บข้อมูล เหล่านี้ก็หาวิธีมาขโมยตามช่องโหว่ต่างๆแบบเนียนๆอยู่เรื่อย
แอปพลิเคชันที่ไม่ควรมีในโทรศัพท์ รีบลบก่อนโดนแอบล้วงข้อมูล

แอปพลิเคชันเหล่านี้อันตรายกว่าทุกคนคิดไม่ใช่เพียงแค่แอบเก็บข้อมูลของเราเท่านั้น เพราะมีในบางกรณีใช้ข้อมูลของเหยื่อในการแอบอ้างเอาข้อมูลไปทำสิ่งผิดกฎหมาย จนต้องมีกฎหมายคุมเข้มในด้านนี้ แต่ลำพังกฎหมายอย่างเดียวคงไม่เพียงพอ ฉะนั้นวันนี้จะมาชี้เป้าแอปพลิเคชันที่ควรลบ ก่อนเครื่องช้า ข้อมูลหายแบบไม่รู้ตัว

- หมวดหมู่แอปตกแต่งธีมบนโทรศัพท์
อีกหมวดหมู่ที่เสี่ยงต่อการเจอแอปพลิเคชันที่ไม่ควรมีในโทรศัพท์ก็คือบรรดาแอปฯที่จะช่วยตกแต่งให้ สมาร์ตโฟน ของเราสวยงามยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะธีมมือถือ คีย์บอร์ด โดยเฉพาะเจ้าไหนเป็นของฟรีต้องระวังกันให้มากยิ่งขึ้น โดยวันนี้มีแอปพลิเคชันทียืนยันมาแล้วว่าอยู่ใน 13 แอปพลิเคชันอันตรายได้แก่ Battery Charging Animations Battery Wallpaper, Battery Charging Animations Bubble -Effects, Dazzling Keyboard, Classic Emoji Keyboard และ EmojiOne Keyboard

- หมวดหมู่แอปพลิเคชันเสริมคุณสมบัติแก่โทรศัพท์
อีกหมวดหมู่สุดจะเสี่ยงต่อการเจอ แอปพลิเคชันอันตราย ก็คือเหล่าบูสเตอร์แอปฯทั้งหลาย ที่เหมือนจะหวังดีช่วยให้มือถือของเราเร็วแรงยิ่งขึ้น แต่อันตรายนอกจากแอบเก็บข้อมูลยังทำให้มือถือของเราช้าลงอีกด้วย ได้แก่ Flashlight Flash Alert On Call, Volume Booster Hearing Aid, Now QRcode Scan และ Volume Booster Louder Sound Equalizer

- หมวดหมู่อื่นๆ
และยังมีหมวดหมู่ทั่วไปที่อาจพบเจอได้ประปรายแต่วิธีหลีกเลี่ยงเหล่าแอปพลิเคชันที่ไม่ควรมีในโทรศัพท์ง่ายๆก็คือ สนับสนุนแอปพลิเคชันที่ได้สามารถฐาน หรือนิยมใช้ในคนหมู่มาก ได้แก่ Easy PDF Scanner, Halloween Coloring, Smart TV remote และ Super Hero-Effect
นักวิจัยพบว่า 4 แอปพลิเคชันสื่อโซเชียลหลักเคยแอบเก็บข้อมูลผู้ใช้งานจำนวนมาก ก่อนออกกฎหมายคุมเข้ม

ถึงแม้จะขึ้นชื่อว่าเป็นแอปพลิเคชันที่เคยแอบเก็บข้อมูลส่วนตัวของเราส่งให้บุลคคลที่สาม แต่ทางบริษัทเองก็ได้ออกมาบอกว่าจะมีการส่งข้อมูลเหล่านี้ให้น้อยที่สุด และบางครั้งเราอาจต้องเข้าใจว่าข้อมูลเหล่านี้อาจจำเป็นต่อการใช้ในทางการสืบสวน หรืออื่นๆ ฉะนั้นสำหรับ Facebook TikTok Instagram และ Twitter ไม่ถือว่าเป็นแอปพลิเคชันที่ไม่ควรมีในโทรศัพท์ แต่เมื่อไหร่ที่บอกว่าทั้ง 4 แอปพลิเคชันที่กล่าวมานี้เป็น แอปพลิเคชันแอบเก็บข้อมูล ส่งให้บุคคคลที่ 3 ข้อกล่าวหานี้ขอบอกเลยว่าโดนเต็มๆ
อ่านบทความอื่นๆ:
สนับสนุนโดย:
https://gclubspecial168.com เปิดบริการฟรี 24 ชม.